ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ views 97,593 สาขาการเงิน เทคโนโลยีการเงิน และการลงทุน INFORMATION U-REVIEW COMMENTS (1) PHOTOS CONTACT EDIT สาขาการเงิน เทคโนโลยีการเงิน และการลงทุน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ Summary 8.42 รีวิวสาขาการเงิน เทคโนโลยีการเงิน และการลงทุน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (การเงิน เทคโนโลยีการเงิน และการลงทุน) จำนวนหน่วยกิต ตลอดหลักสูตร 138 หน่วยกิต มุ่งให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถด้านการวิเคราะห์ การวางแผน และควบคุมการเงิน ระบบการจัดการด้านการเงินขององค์กรในรูปแบบต่างๆ ของห้างหุ้นส่วน บริษัท รัฐวิสาหกิจ การบริหารสินเชื่อ บทบาทและความสำคัญของตลาดการเงิน สถาบันการเงินกับธุรกิจ ทั้งในและต่างประเทศ มีทักษะในการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงิน ของบริษัทหรือหน่วยงานทั้งรัฐและเอกชน มีความรู้ในการวิเคราะห์และการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานธุรกิจ และจัดการการเงินของตนเอง มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์หลักทรัพย์ การบริหารกลุ่มหลักทรัพย์ ตลอดจนตราสารอนุพันธ์ต่างๆ จบมาทำงานอะไร สายงานธนาคาร (Banking) - นักวิเคราะห์การเงิน (Financial Analyst) - นักวิเคราะห์สินเชื่อ (Credit Analyst) - นักวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Analyst) - นักการธนาคาร (Banker) สายงานบริษัท (Corporate Finance) - เจ้าหน้าที่บริหารทางการเงิน (Financial Officer) - เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน - ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) สายงานด้านหลักทรัพย์และวาณิชธนกิจ (Securities and Investment Banking) - นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ (Securities Analyst) - วาณิชธนากร (Investment Banker) - ผู้ขายตราสารอนุพันธ์ (Derivative Trader) - นักวิเคราะห์ตราสารอนุพันธ์ (Derivative Analyst) สายการจัดกาการรลงทุน (Fund Management) - ผู้จัดการกองทุน (Fund Manager) - ผู้จัดการกองทุนตราสารอนุพันธ์ (Derivative Fund Manager) - ที่ปรึกษาการลงทุน (Investment Advisor) - นักวางแผนทางการเงิน (Financial planner) ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร 256,000 บาท สาขาการเงิน เทคโนโลยีการเงิน และการลงทุน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ผลงานของสาขา (ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า) 9.00 ความพร้อมของห้องปฎิบัติการและอุปกรณ์การเรียน 8.50 ความร่วมมือกับองค์กรภายนอก 9.00 โอกาสหางานง่าย 8.00 สภาพแวดล้อมของสถานที่เรียน 8.50 ทุนการศึกษา กยศ. Summary U-Review Score 8.42 มุ่งให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถด้านการวิเคราะห์ การวางแผน และควบคุมการเงิน ระบบการจัดการด้านการเงินขององค์กรในรูปแบบต่างๆ ของห้างหุ้นส่วน บริษัท รัฐวิสาหกิจ การบริหารสินเชื่อ บทบาทและความสำคัญของตลาดการเงิน สถาบันการเงินกับธุรกิจ ทั้งในและต่างประเทศ มีทักษะในการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงิน ของบริษัทหรือหน่วยงานทั้งรัฐและเอกชน มีความรู้ในการวิเคราะห์และการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานธุรกิจ และจัดการการเงินของตนเอง มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์หลักทรัพย์ การบริหารกลุ่มหลักทรัพย์ ตลอดจนตราสารอนุพันธ์ต่างๆ วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com หลักเกณฑ์การให้คะแนน ชื่อคณะ วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี ชื่อสาขา การเงิน เทคโนโลยีการเงิน และการลงทุน (Finance) ชื่อปริญญา บธ.บ. (การเงิน) (บริหารธุรกิจบัณฑิต (การเงิน)) รายละเอียด หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (การเงิน เทคโนโลยีการเงิน และการลงทุน) จำนวนหน่วยกิต ตลอดหลักสูตร 138 หน่วยกิต เนื้อหาวิชา 1.หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต - กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต ก.วิชาบังคับ 1 รายวิชา 3 หน่วยกิต ข.วิชาเลือก 1 รายวิชา3 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 9 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต วิชาบังคับ 1 รายวิชา 3 หน่วยกิต วิชาเลือก 1 รายวิชา 3 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาภาษา 9 หน่วยกิต 2.หมวดวิชาเฉพาะ 102 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 48 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาเอก 39 หน่วยกิต ก.วิชาบังคับ 8 รายวิชา 24 หน่วยกิต ข.เลือกตามกลุ่ม 5 รายวิชา 15 หน่วยกิต ดังนี้ 1.กลุ่มบริหารการเงิน 2.กลุ่มบริหารการลงทุน 3.กลุ่มวิชาเลือกหรือวิชาโท 15 หน่วยกิต กรณีวิชาเลือก 15 หน่วยกิต จากกลุ่มวิชาต่อไปนี้ ก.วิชาเอกของสาขาวิชาอื่นในคณะบริหารธุรกิจ หรือ วิชาเลือกที่เปิดสอนในคณะบริหารธุรกิจ ข.วิชาที่เปิดสอนในคณะอื่นๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยและคณะอนุมัติให้เป็นวิชาเลือกได้ กรณีวิชาโท 15 หน่วยกิตจากกลุ่มวิชาในข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ ก.กลุ่มวิชาโทของสาขาวิชาอื่นในคณะบริหารธุรกิจ ข.กลุ่มวิชาโทของคณะอื่นๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย และคณะอนุมัติให้เป็นวิชาโทได้ 3.หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต เลือกเรียนจากรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ที่คณะอนุมัติให้เป็นวิชาเลือกเสรีได้ นักศึกษาต่างสาขาวิชาหรือต่างคณะที่เลือกวิชาการเงินเป็นวิชาโท ต้องเรียน 15 หน่วยกิต คุณสมบัติ - สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกสาขาวิชา จากสถาบันการศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศ ที่รับรองโดยสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา - คุณสมบัติด้านอื่นๆ เป็นไปตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด ค่าเทอม ตลอดหลักสูตร 256,000 บาท จำนวนปี 4 ปี ทุนการศึกษา กยศ. เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า แนวทางการประกอบอาชีพ นักศึกษาสาขาวิชาการเงินสามารถเลือกเส้นทางอาชีพสายตรงได้ 4 สายหลักๆ คือ สายการธนาคาร (Banking) - นักวิเคราะห์การเงิน (Financial Analyst) - นักวิเคราะห์สินเชื่อ (Credit Analyst) - นักวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Analyst) - นักการธนาคาร (Banker) การเงินของบริษัท (Corporate Finance) - เจ้าหน้าที่บริหารทางการเงิน (Financial Officer) - เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน - ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) สายหลักทรัพย์และวาณิชธนกิจ (Securities and Investment Banking) - นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ (Securities Analyst) - วาณิชธนากร (Investment Banker) - ผู้ขายตราสารอนุพันธ์ (Derivative Trader) - นักวิเคราะห์ตราสารอนุพันธ์ (Derivative Analyst) สายจัดการลงทุน (Fund Management) - ผู้จัดการกองทุน (Fund Manager) - ผู้จัดการกองทุนตราสารอนุพันธ์ (Derivative Fund Manager) - ที่ปรึกษาการลงทุน (Investment Advisor) - นักวางแผนทางการเงิน (Financial planner) ความยากในการเรียน 8.0 เว็บไซต์คณะสาขา http://ciba.dpu.ac.th/courses 1 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 0.0 แย่มาก เขียนรีวิว/ให้คะแนน 0 0 0 0 0 สาขาการเงิน เทคโนโลยีการเงิน และการลงทุน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ดีไหม? GOOGLE MAP ข้อมูลติดต่อ เว็บไซต์ http://www.dpu.ac.th/ Facebook มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ | Dhurakij Pundit University 97K VIEWS 135 SHARES ให้คะแนนความน่าสนใจ
สาขาการเงิน เทคโนโลยีการเงิน และการลงทุน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
รีวิวสาขาการเงิน เทคโนโลยีการเงิน และการลงทุน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
จำนวนหน่วยกิต ตลอดหลักสูตร 138 หน่วยกิต
มุ่งให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถด้านการวิเคราะห์ การวางแผน และควบคุมการเงิน ระบบการจัดการด้านการเงินขององค์กรในรูปแบบต่างๆ ของห้างหุ้นส่วน บริษัท รัฐวิสาหกิจ การบริหารสินเชื่อ บทบาทและความสำคัญของตลาดการเงิน สถาบันการเงินกับธุรกิจ ทั้งในและต่างประเทศ มีทักษะในการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงิน ของบริษัทหรือหน่วยงานทั้งรัฐและเอกชน มีความรู้ในการวิเคราะห์และการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานธุรกิจ และจัดการการเงินของตนเอง มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์หลักทรัพย์ การบริหารกลุ่มหลักทรัพย์ ตลอดจนตราสารอนุพันธ์ต่างๆ
จบมาทำงานอะไร
- นักวิเคราะห์การเงิน (Financial Analyst)
- นักวิเคราะห์สินเชื่อ (Credit Analyst)
- นักวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Analyst)
- นักการธนาคาร (Banker)
สายงานบริษัท (Corporate Finance)
- เจ้าหน้าที่บริหารทางการเงิน (Financial Officer)
- เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
- ผู้ประกอบการ (Entrepreneur)
สายงานด้านหลักทรัพย์และวาณิชธนกิจ (Securities and Investment Banking)
- นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ (Securities Analyst)
- วาณิชธนากร (Investment Banker)
- ผู้ขายตราสารอนุพันธ์ (Derivative Trader)
- นักวิเคราะห์ตราสารอนุพันธ์ (Derivative Analyst)
สายการจัดกาการรลงทุน (Fund Management)
- ผู้จัดการกองทุน (Fund Manager)
- ผู้จัดการกองทุนตราสารอนุพันธ์ (Derivative Fund Manager)
- ที่ปรึกษาการลงทุน (Investment Advisor)
- นักวางแผนทางการเงิน (Financial planner)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
สาขาการเงิน เทคโนโลยีการเงิน และการลงทุน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
(ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
จำนวนหน่วยกิต ตลอดหลักสูตร 138 หน่วยกิต
ก.วิชาบังคับ 1 รายวิชา 3 หน่วยกิต
ข.วิชาเลือก 1 รายวิชา3 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 9 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 1 รายวิชา 3 หน่วยกิต
วิชาเลือก 1 รายวิชา 3 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาภาษา 9 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอก 39 หน่วยกิต
ก.วิชาบังคับ 8 รายวิชา 24 หน่วยกิต
ข.เลือกตามกลุ่ม 5 รายวิชา 15 หน่วยกิต ดังนี้
1.กลุ่มบริหารการเงิน
2.กลุ่มบริหารการลงทุน
3.กลุ่มวิชาเลือกหรือวิชาโท 15 หน่วยกิต
กรณีวิชาเลือก 15 หน่วยกิต จากกลุ่มวิชาต่อไปนี้
ก.วิชาเอกของสาขาวิชาอื่นในคณะบริหารธุรกิจ หรือ วิชาเลือกที่เปิดสอนในคณะบริหารธุรกิจ
ข.วิชาที่เปิดสอนในคณะอื่นๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยและคณะอนุมัติให้เป็นวิชาเลือกได้
กรณีวิชาโท 15 หน่วยกิตจากกลุ่มวิชาในข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
ก.กลุ่มวิชาโทของสาขาวิชาอื่นในคณะบริหารธุรกิจ
ข.กลุ่มวิชาโทของคณะอื่นๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย และคณะอนุมัติให้เป็นวิชาโทได้
นักศึกษาต่างสาขาวิชาหรือต่างคณะที่เลือกวิชาการเงินเป็นวิชาโท ต้องเรียน 15 หน่วยกิต
- คุณสมบัติด้านอื่นๆ เป็นไปตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
นักศึกษาสาขาวิชาการเงินสามารถเลือกเส้นทางอาชีพสายตรงได้ 4 สายหลักๆ คือ
สายการธนาคาร (Banking)
- นักวิเคราะห์การเงิน (Financial Analyst)
- นักวิเคราะห์สินเชื่อ (Credit Analyst)
- นักวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Analyst)
- นักการธนาคาร (Banker)
การเงินของบริษัท (Corporate Finance)
- เจ้าหน้าที่บริหารทางการเงิน (Financial Officer)
- เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
- ผู้ประกอบการ (Entrepreneur)
สายหลักทรัพย์และวาณิชธนกิจ (Securities and Investment Banking)
- นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ (Securities Analyst)
- วาณิชธนากร (Investment Banker)
- ผู้ขายตราสารอนุพันธ์ (Derivative Trader)
- นักวิเคราะห์ตราสารอนุพันธ์ (Derivative Analyst)
สายจัดการลงทุน (Fund Management)
- ผู้จัดการกองทุน (Fund Manager)
- ผู้จัดการกองทุนตราสารอนุพันธ์ (Derivative Fund Manager)
- ที่ปรึกษาการลงทุน (Investment Advisor)
- นักวางแผนทางการเงิน (Financial planner)
1 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 0.0 แย่มาก
สาขาการเงิน เทคโนโลยีการเงิน และการลงทุน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ